เคล็ดลับวิชาสัมพันธ์ไทย ชั้นประโยค ป.ธ.3 (ปกใหม่ ชำระใหม่ 2564) - พระมหาสุทัศน์ วรทสฺสี ป.ธ.9 (พระธรรมราชานุวัตร วัดโมลีโลกยาราม กรุงเทพฯ) - หนังสือบาลี ร้านบาลีบุ๊ก Palibook
เคล็ดลับวิชาสัมพันธ์ไทย
รวมวิธีใช้สัมพันธ์ ไว้อย่างครบถ้วน ครบครัน พร้อมตัวอย่างจริง
สำหรับ
– นักเรียนชั้นประโยค ป.ธ.3
– อาจารย์สอนวิชาสัมพันธ์ไทย
– ผู้ใคร่รู้วิชาสัมพันธ์ไทย
เคล็ดลับวิชาสัมพันธ์ไทย
isbn 978-6916-268-366-4
โดย. : พระมหาสุทัศน์ วรทสฺสี
พิมพ์ : 1 สี
กระดาษ : ปอนด์
จำนวน : 152 หน้า
ขนาด : 14.5x21cm.
ประโยค ป.ธ.3
สารบัญภายในเล่ม
หมวดที่ ๑ ว่าด้วยหลักสัมพันธ์ (ให้ท่องจำ)
ปฐมาวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง
ทุติยาวิภติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง
ตติยาวิภัติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง
จตุตถีวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๓ อย่าง
ปัญจมีวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๓ อย่าง
ฉัฏฐีวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๖
สัตตมีวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๑๐ อย่าง
บทคุณนาม
สัพพนาม
การเรียกชื่อกิริยาคุมพากย์
กิริยาในระหว่าง
ตูนาทิปัจจัย
ชื่อสัมพันธ์พิเศษ
ประธานพิเศษไม่แจกด้วยวิภัตติ
เอวํ ศัพท์ใช้ในอรรถ ๕ อย่าง
ตถา ศัพท์ใช้ในอรรถ ๕ อย่าง
อลํ ใช้ในอรรถ ๔ อย่าง
สกฺกา ใช้ในอรรถ ๓ อย่าง
ตุํ ปัจจัยใช้ในอรรถ ๒ อย่าง
สาธุ ใช้ในอรรถ ๓ อย่าง
อถ ใช้ในอรรถ ๔ อย่าง
แผนกนิบาต
นิบาตบอกอาลปนะ
นิบาตบอกกาล
นิบาตบอกที่
นิบาติบอกปริเฉท
นิบาตบอุปมอุปมัย
นิบาตบอกประการ
นิบาตบอกปฏิเสธ
นิบาตบอกความได้ยินล่ำลือ
นิบาตบอกปริกัป
นิบาตบอกคำถาม
นิบาตบอกความรับ
นิบาตสักว่าเป็นเครือ่งทำบทให้เต็ม
นิบาตมีเนื้อความต่างๆ
นิบาตบอกความเตือน
อิติ ศัพท์ เรียนชื่อสัมพันธ์ได้ ๙ อย่าง
หิ จ ปน ตุ ศัพท์
ชื่อสัมพันธ์นิบาติที่ควรรู้
ปัจจัยในนามนาม
หมวดที่ ๒ กฎเกณการสัพันธ์บาลี
สันพันธ์คืออะไร
การสัมพันธ์ได้ดีควรทำอย่างไร
สิ่งที่ควรรู้ก่อนสัมพันธ์
ตัวอย่างข้อสอบสัมพันธ์ ๔ วาจก
หมวดที่ ๓ ว่าด้วยการสัมพันธ์พิเศษที่ควรรู้
ก. สัมพันธ์ไทยประโยคพิเศษ
ประโยค กิริยาปธานนัย
ประโยค กิ มงฺคํ ปน
ประโยค กึการณา
ประโยค กึ ปโยชนํ
ประโยค ลิงฺคตฺถและอุปมาลิงฺคตฺถ
ประโยค ยถา กึ วิย
ประโยค ตุมตฺถกัตฺตา-ตุมตฺถสมฺปทาน
ประโยค สัตฺตมีปจุจตฺต
ประโยค สตฺตมีปจฺจตฺต
ประโยค สจฺจวาจกลิงฺคตฺถ
ประโยค ลิงฺคตฺถ (สาธุ)
ประโยค ลิงฺคตฺถ (ตถา)
ประโยค ปฏิเสธลิงฺคตฺถ หรือ ลิงฺคตฺถ
ประโยค อนาทร-ลกฺขณ
ประโยค กิริยาบท ภาววาจก และกมฺมวาจก
ประโยค กิริยาปรามาส
ประโยค ย-ต ๕ ชนิด
ข. การสัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
ประโยค นิทฺธารณ-นิทฺธารนีย
วิกติกตฺตา
อุปมาวิกติกตฺตา
วิกติกมฺม
อุปมาวิกติกมฺม
วิเสสน
อุปมาวิเสสน
กิริยาวิสสน (นิบาต-กิริยา)
กิริยาวิเสสน (นาม)
เหตุ
สมฺภาวน
อิตฺถัมภูต
วิเสสนลิงควิปลฺลาส
ฉฏฺฐีกมฺม
สญฺญาวิเสสน-สญฺญาโชตก
ภาวาธิสมฺพนฺธ
วิเสสลาภี-สรูป
กาลสตฺตมี
อาธาร-ภินฺนาธาร
การสัมพันธ์หักวิภัตติ
การสัมพันธ์ครึ่งศัพท์
ค. การสัมพันธ์นิบาตที่ควรรู้
นิปาตสมุห
วจนาลงฺการ-ปทปูรณ
วากยสมุจฺจยตฺถ-ปทสมุจฺจยตฺถ
วากฺยวิกปฺปตฺถ-ปทวิกปฺปตฺถ
อนุคฺคหตฺถ-อรุจิสูจนตฺถ
อจฺฉริยตฺถ-สํเวคตฺถ
สํสยตฺถ
น,โน,ปฏิเสธ
สทฺธึ และ สห
อปรนัย
อายาจนตฺถ (สาธุ)
ฆ. การสัมพันธ์กิริยาศัพท์ต่างๆ และอิติศัพท์
การสัมพันธ์กิริยาคุมพากย์
อพฺภนฺตรกิริยา-วิเสสน
ปุพพกาลกิริยา
สมานกาลกิริยา
ปริโยสานกิริยา
อปรกาลกิริยา
เหตุ หรือ เหตุกาลกิริยา
การสัมพันธ์อิติศัพท์ที่ควรทราบ
อิติ ศัพท์ อาทยตฺถ
อิติ ศัพท์ สญฺญาโชตก
อิติ ศัพท์ สรูป (ไขความ)
อิติ ศัพท์ สรูป
อิติ ศัพท์ อาการ
อิติ ศัพท์ สมาปนฺน, ปริมาปนฺน
อิติ ศัพท์ สัมพันธ์ทิ้ง
ง. การสัมพันธ์คาถาและอรรถกถา
การสัมพันธ์คาถา
การสัมพันธ์อรรถกถา
การสัมพันธ์ศัพท์ในอรรถกถา
ลักษณะอรรถกถาที่พบบ่อย
วิวริย-วิวรณ
สญฺญี-สญฺญา
หมวดที่ ๔ ว่าด้วยเรื่องเบ็ดเตล็ด
สรุปสัมพันธ์ทิ้ง
ข้อควรจำเบ็ตเตล็ดในสัมพันธ์
คำเชื่อมชื่อสัมพันธ์
คำเชื่อมพิเศษ